วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ฟังก์ชันขั้นบันได
ฟังก์ชันขั้นบันได คือฟังก์ชันบนจำนวนจริงซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่างฟังก์ชันคงตัวจากโดเมนที่แบ่งออกเป็นช่วงหลายช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีลักษณะเป็นส่วนของเส้นตรงหรือรังสีในแนวราบเป็นท่อน ๆ ตามช่วง ในระดับความสูงต่างอ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์
ฟังก์ชันค่าสมบูรณ์ถูกกำหนดโดยกฎซึ่งแบ่งออกเป็นสองกรณี
ค่าฟังก์ชันสมบูรณ์ | | จะกำหนดโดย
ค่า absolute ของ x ให้ระยะห่างระหว่าง xอ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
นิยาม ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลคือ ฟังก์ชัน
จากบทนิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล ฟังก์ชันนี้มีรูปแบบในรูปของเลขยกกำลัง โดยฐานของมันต้องมากกว่า 0 และฐานต้ออ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสองเป็นฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = ax^2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ a ไม่เท่ากับ 0 ซึ่งกราฟของฟังก์ชันกำลังสอง เรียกว่า พาราโบลาอ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชั่นที่อยู่ในรูป f(x) = ax+b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง
เช่น f(x) = 2x+1
f(x) = -3x
f(x) = x-5 เป็นต้น
กราฟของฟังก์ชั่นเหล่านี้เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน ฟังก์ชั่นเชิงเส้น f(x) = ax+b เมื่อ a=0 จะได้ฟังก์ชั่นอยู่ในรูป f(x) = b ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ‘‘ ฟังเพิ่มเอ่านติม
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันเป็นบทเรียนที่ต่อจากเรื่องความสัมพันธ์ ในบทเรียนนี้จะได้รู้จักว่าฟังก์ชันเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขอย่างไร การแทนฟังก์ชัน ฟังก์ชันจาก Aไป B ฟังก์ชันที่อ่านเพิ่มเติม
โดเมนและเรนจ์
ถ้าพิจารณาเฉพาะเซตของสมาชิกตัวหน้า และเซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของความสัมพันธ์ใด ๆ จะได้โดเมน (domain) และเรนจ์ (range) ของความสัมพันธ์นั้นตามลำดับเช่น r1 = {(1,2),(2,3),(3,4)(4,5)}
r2={(x,y) I x I | y =อ่านเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)